หน้าแรก > ข่าว > 8 สัญญาณอาการของโรคติด Facebook ….

8 สัญญาณอาการของโรคติด Facebook ….

พฤศจิกายน 12, 2012 ใส่ความเห็น Go to comments

8 สัญญาณอาการของโรคติด Facebook ….

1. หยุดเล่นอินเตอร์เน็ตไม่ได้ รู้สึกกะวนกระวายใจเมื่อห่างจาก Facebook เป็นเวลานาน ให้สังเกตุเวลาไม่ได้เล่นนานๆ เช่นไปต่างจังหวัด เข้าค่าย กลับถึงบ้าน จะพุ่งไปเล่น Facebook ก่อนอันดับแรก

2.เริ่มต้องการ

สมาร์ทโพน สมาร์ทโพนสมัยนี้สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้ง่ายมาก แต่มีแพ็คเกจอินเตอร์เนตที่ถูกซึ่งคนใช้สมาร์ทโพนคิดเป็นสัดส่วน 70% เข้าไปแล้ว

2. เริ่มใช้ชีวิตอยู่กับโลกออนไลน์ในเวลามากๆ จนลืมทำกิจกรรมอื่นๆ โดยจะเป็นมากในวัยรุ่น หลังจากเลิกเรียนกลับบ้านก็มุ่งเล่น Facebook ต่อจนลืมเอาเวลาไป ออกกำลังกาย หรือ กิจกรรมอื่นๆ

3. มีพฤติกรรมที่ต้องการความสนใจมากขึ้น ค่อยเอาเวลามา เช็คว่าใครจะค่อยมาเม้น หรือกด like หากมีผลตอบรับน้อยก็เกิดอาจการน้อยใจที่ไม่ได้รับความสนใจ

4. เริ่มลำดับความสำคัญของงาน และการเรียนไม่ถึง สมาธิสั้นมั่วสนใจว่าใครจะมาเม้น จนทำให้เสียการเรียนและงานโดยไม่รู้ตัว

5. เมื่อรู้สึกว่าตัวเองเริ่มติด Facebook เวลาจะคิดเลิกกับเป็นความรู้สึกขัดแย้งตัวเอง เช่น บอกว่าจะแบ่งเวลา หรือ เลิกเล่น พอเวลาผ่านไปก็ห้ามตัวเองไม่ได้กลับมาเล่นเหมือนเดิม เพราะเสพติดไปแล้ว

6.คิดอะไรไม่ออก ขณะทำกิจกรรมอื่นๆ ค่อยกังวลหา Facebook อยู่ตลอดเวลา

7.เริ่มมีปัญหาเกี่ยวกับการสนทนาเพราะใช้เวลากับการพูดคุยทางโลกอินเตอร์เนตมากกว่าชีวิตจริง

8. แยกตัว ออกจากสังคมจริง ไม่กล้าเผชิญกับชีวิตจริง โดยจะเลือกที่จะแสดงออกอารมณ์ผ่าน status สถาณะFacebookแทน

Cr. Jeffee Seraph

+++++++++ให้นักเรียนบอกผลกระทบของอาการติด facebook มา 5 ข้อ+++++++++++

อย่าลืม….ชื่อ…………………….เลขที่………….ชั้น………….ด้วยนะครับไม่มีคะแนนไม่รู้ด้วยนะ

  1. Patimagorn
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 4:37 am

    1. นอนดึกขึ้นเพราะเล่น facebook ทำให้ระหว่างวันรู้สึกเพลียง่าย ไม่อึดเหมือนแต่ก่อน

    2. ใช้เวลากับ facebook มากขึ้นเรื่อย ๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส

    3. ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน จะคิดถึง facebook อยู่เสมอ รู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย อยากเข้าไปเช็กคอมเมนต์จากเพื่อน ๆ

    4. หากถูกบังคับให้เลิก facebook จะรู้สึกหงุดหงิดไม่พอใจขึ้นมาทันที

    5. เล่น facebook จนไม่มีเวลามาสนใจดูแลสุขภาพ เช่น กินไม่เป็นเวลา ไม่มีเวลาออกกำลังกาย เป็นต้น
    ด.ญ.ปติมากร นครสุทธยุทธยา เลขที่ 20 ม. 3/3

  2. Suteeranan
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 4:43 am

    ผลกระทบ คือ ….
    1 ทำให้เสียการเรียน
    2 เสียการเรียน
    3 มีเวลาให้ครอบครัวหรือเพื่อนฝูงน้อยลง
    4 ไม่มีเวลาดูแลสุขภาพร่างกายอาจทำเจ็บป่วยได้
    5 ทำให้สายตาสั้น พราะการจ้องคอมพ์เวลานานตาของเราจะได้รับแสงในปริมาณที่มากเกินไป
    ด.ญ.สุธีรานันท์ ดาวเรือง ม.3/3 เลขที่ 28

  3. Patimagorn
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 4:52 am

    1. นอนดึกขึ้นเพราะเล่น facebook ทำให้ระหว่างวันรู้สึกเพลียง่าย ไม่อึดเหมือนแต่ก่อน

    2. ใช้เวลากับ facebook มากขึ้นเรื่อย ๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส

    3. ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน จะคิดถึง facebook อยู่เสมอ รู้สึกหงุดหงิด กระวนกระวาย อยากเข้าไปเช็กคอมเมนต์จากเพื่อน ๆ

    4. หากถูกบังคับให้เลิก facebook จะรู้สึกหงุดหงิดไม่พอใจขึ้นมาทันที

    5. เล่น facebook จนไม่มีเวลามาสนใจดูแลสุขภาพ เช่น กินไม่เป็นเวลา ไม่มีเวลาออกกำลังกาย เป็นต้น
    ด.ญ.ปติมากร นครสุทธยุทธยา ม.๓/๓ เลขที่ ๒๗

  4. sangduean
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 4:54 am

    1.FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้

    2.เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้

    3.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น

    4.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้

    5.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    ด.ญ. แสงเดือน คำหอม ม.๓/๓ เลขที่ ๓๐

  5. Puangpaka
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 4:56 am

    1. ฉันสนิทกับเพื่อนใน facebook มากกว่าเพื่อนที่ทำงาน

    2. ฉันชอบที่จะสร้างความสัมพันธ์สนิทสนมกับเพื่อนใน facebook จนละเลยการใช้เวลากับครอบครัวหรือกับเพื่อนฝูงในชีวิตจริง
    3.ในการสร้างความผูกพันและการปรับตัวทางสังคมเป็นการพบปะกันในโลกของความจริง มากกว่าในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นผู้อยู่ในโลกของไซเบอร์มากเกินไปอาจทำให้มีปัญหาทางจิต หรือขาดการปรับตัวทางสังคมที่ดี โดยเฉพาะผู้ที่ชอบเล่น FaceBook ตั้งแต่ยังเด็ก

    4.FaceBook อาจเป็นแรงขับให้มีการพบปะทางสังคมในโลกแห่งความเป็นจริงที่น้อยลงได้ เนื่องจากทราบความเคลื่อนไหวของผู้ที่อยู่ในเครือข่ายอย่างตลอดเวลา

    5.นโยบายของบางโรงเรียน บางมหาวิทยาลัย บางครอบครัวหรือในบางประเทศมีปัญหามากมายที่เกิดจากFaceBook ทำให้ FaceBook ไม่ได้รับการอนุญาตให้มีในหลายพื้นที่

    • Puangpaka
      พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:03 am

      ชื่อ ด.ญ.พวงผกา มูลเหล็ก ม.3/3 เลขที่ 21

  6. พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:01 am

    อาการของคนติด Facebook

    1.เช้าเลี้ยงหมู บ่ายยึดเมือง เย็นสร้างบ้าน ปลูกผัก ค่ำๆเก็บขนม ติดเกาะ สร้างรังมด ดึกๆท้าแข่งรถ ตั้งวงไพ่
    2.เม้นไปเรื่อย จุ้นกับเรื่องชาวบ้านไม่หยุด
    3.บ้าบ่นทั้งวัน รักๆ โกรธๆ หลงๆ ลืมๆ
    4.ไม่ได้แชทกับใครเกิน 10 นาที หงุดหงิดตาย
    5.เข้า Facebook เป็นเว็บแรก
    6.โพสเพลง แชร์เพลง ก็แบบว่าอยากให้เพื่อนฟังด้วยอ่า
    7.อดไม่ได้ที่จะต้…
    เด็กหญิง อัสนีย์ พรมพิลา เลขที่ 32 ม. 3/3

  7. เด็กหญิง สาวิตรี โทนะพันธ์ เลขที่ 27 ม.3/3
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:05 am

    5 อาการ บ่งบอกว่าคุณเป็นโรคติด Facebook ขั้นรุนแรง!!

    ต้องยอมรับเลยว่าปัจจุบัน Facebook เข้ามามีส่วนสำคัญของสังคมเราไปซะแล้ว เพราะไมว่าจะถามใครๆ ไม่ว่าจะเด็กจนถึงผู้ใหญ่ก็มี Facebook กันเกือบทุกคน เพราะประโยชน์ของมันไม่ได้ใช้แค่การคุยเล่นกันเท่านั้น แต่ยังสามารถทำอะไรได้อีกตั้งหลายอย่าง แต่จะมีใครทราบมั้ยว่าตัวเอง หรือคนข้างๆ คุณมีใครที่เป็นโรค Facebook Addict หรือโรคติด Facebookขั้นรุนแรง มาดูกันครับว่าคุณมีอาการเหล่านี้มั้ย
    1. นั่งวิตกจริตว่าทำไมเขาถึงไม่ส่งข้อความกลับมาหาคุณ

    นี่เป็นอาการเริ่มต้นของโรคติด Facebook เลยครับ คือการนั่งรอคอยให้มีคนมาตอบคอมเม้นท์ของคุณหรือยัง โดยนั่งเฝ้าแต่ Facebook นั่งกด F5 ไปเรื่อยๆ จนคุณไม่เป็นอันทำอะไร เดี๋ยวก็มานั่งดูแต่ Facebook

    2. ใช้เวลาอยู่กับ Facebook มากกว่า 1 ชม. ต่อวัน

    การใช้งาน Facebook เกิน 1 ถึง 2 ชั่วโมงต่อวันถือว่ามากเกินไปครับ สำหรับคนทั่วไป ไม่รวมคนที่ใช้ Facebook ในการทำงานนะครับ

    3. เกิดอาการสับสนระหว่างชีวิตจริง กับ Facebook

    จากที่คุณอ่านข้อความต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานะ หรีอคอมเมนท์ของคนต่างๆ มากไป ทั้งที่เรื่องนั้นๆ เป็นทั้งเรื่องจริง และไม่จริง แต่คุณเริ่มไม่สามารถแยกแยะได้ว่าโลกแห่งความจริง กับโลกออนไลน์นั้นมันคนละอันกัน และเก็บเรื่องนั้นๆ มาเป็นอารมณ์ของตนเอง

    4. เป็นพวกชอบโชว์ ชอบอวดอ้างตัวเอง

    คนบางคนชอบใช้ Facebook เป็นเครื่องโอ้อวดตัวเอง หรือเป็นที่โชว์อีโก้ของตัวเอง เพื่อโชว์พาว ซึ่งอาจเป็นปัญหาด้านปมด้อยของตัวเองในสังคมจริงโดยการมีเพื่อนให้มากๆ สร้างข้อมูลส่วนตัวของตัวเองให้หรูหราเกินจริง หรือมีอะไรก็อัพเดตสถานะตัวเองตลอดเวลา (เคยถามเพื่อนๆ ของคุณมั้ยครับ ว่าเขาอยากรู้กับคุณด้วยหรือเปล่า)

    5. รู้สึกกระวนกระวายใจถ้าไม่ได้เล่น Facebook

    เหมือนกับคนติดยาเมื่อไม่ได้เสพ Facebook ต้องคอยหาอุปกรณ์มาเปิดดูสถานะล่าสุดตลอดเวลา และจะรู้สึกโมโห, หงุดหงิด, หรือซึมเศร้า เมื่อไม่ได้เล่น Facebook
    เด็กหญิง สาวิตรี โทนะพันธ์ เลขที่ 27 ม.3/3

  8. Wongsagorn
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:05 am

    1. คุณคิดถึงและเปิด Facebook เป็นอย่างแรกเมื่อเข้า internet

    2. คุณใช้เวลากับ Facebook มากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน Facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน

    3. คุณคอยเช็ค คอยตอบ Comment คอยเฝ้าคน like เพื่อนๆ เหมือนถ้าไม่ได้ทำแล้วจะขาดใจ

    4. คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน

    5. ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism ครับ
    ด.ช.วงศกร สุตะพันธ์ เลขที่ 10 ม. 3/3

  9. เด็กชาย ชัชวาลย์ วงษ์สวรรณ เลขที่ 4 ม.3/3
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:14 am

    1. คุณคิดถึงและเปิด Facebook เป็นอย่างแรกเมื่อเข้า internet

    2. คุณใช้เวลากับ Facebook มากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน Facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน

    3. คุณคอยเช็ค คอยตอบ Comment คอยเฝ้าคน like เพื่อนๆ เหมือนถ้าไม่ได้ทำแล้วจะขาดใจ

    4. คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน

    5. ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism

    ถ้ามีคำถามว่าเมื่อเราติด Facebook แล้วจะมีผลเสีย หรือ แก้ไขมันอย่างไร อันนี้ขึ้นอยู่กับบุคคลจะจัดการอย่างไร มีข่าวจากต่างประเทศ มีพนักงานที่ติด Facebook จนโดนไล่ออกจากงาน หรือ สส. ที่กำลังประชุมสภาแล้วห่วงเล่นเกมส์ปลูกผัก จนโดนไล่ออกก็มีครับ เพราะฉะนั้นก็ขึ้นอยู่กับคุณแล้วล่ะ ว่าจะจัดการมันอย่างไร ของทุกอย่างมีทั้งข้อดี และข้อเสีย มันอยู่ที่เราเลือกว่าจะใช้ให้มันเป็นประโยชน์ หรือ เป็นโทษ
    เด็กชาย ชัชวาลย์ วงษ์สวรรณ เลขที่ 4 ม.3/3

  10. เด็กหญิง พีรยา บุญราช เลขที่ 23 ม. 3/3
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 5:28 am

    คนที่ติดเหล้า ติดบุหรี่ ติดสารเสพติด นั้นสังเกตไม่ยาก เด็กที่ติดเกม ก็มีพ่อแม่คอยวิ่งพามารักษาไม่ขาดสาย แต่อาการเสพติดประเภทใหม่ ยังเป็นข้อถกเถียงของสังคม ก็คือการเสพติด social network ซึ่งถ้าเราพูดให้ชัด หรือเจาะจงกว่านี้สักหน่อย Facebook น่าจะเป็นตัวแทนที่พอพูดถึงใครๆ ก็ต่างนึกออก เคยสงสัยบ้างไหมครับว่าการเสพติด Facebook มันมีจริง หรือเป็นแค่คำพูดประชดกันแรงๆ ของนายจ้างที่เกลียดที่สุดเวลาเห็นคนในบริษัทแอบเบียดบังเวลางานไปเล่นเจ้า Facebook

    วิธีการที่จะบอกได้ดีที่สุดว่า Facebook เสพติดได้จริงหรือไม่ก็คือ การสำรวจว่ามีใครบ้างที่ลงแดง (withdrawal symptoms) หรือทุรนทุรายอย่างหนักเวลาไม่ได้เสพเจ้า Facebook วิธีทดสอบที่ผมไม่เคยใช้กับสารเสพติดประเภทอื่นก็คือ ผมต้องลองเสพ Facebook ด้วยตัวผมเองดูสักครั้ง ซึ่งนับจากวันนั้นก็ผ่านมากว่า 2 ปีแล้ว จากการได้ทดสอบกับตัวเองและได้สังเกตจากเพื่อนๆ รวมทั้งคนที่มาขอคำปรึกษาทำให้ผมเกิดความเชื่อส่วนตัวว่า Facebook สามารถเสพติดได้จริงเพราะในช่วงปีแรกตัวผมเองติด Facebook อย่างงอมแงม ถามว่าผมรู้ได้อย่างไรว่าติด? ผมอยากให้หลักง่ายๆ ที่คุณผู้อ่านสามารถใช้ถามตัวเองได้เช่นกันว่าคุณติดมันหรือไม่ (ดัดแปลงจากนิตยสาร GM 371 ,2009) Facebook ทำให้นอนดึกผิดปกติ บางคนบอกว่านอนเช้า คือเช้าของอีกวัน

    internet ไม่เคยพลาดการเข้า Facebook เลยสักครั้งทั้งๆ ที่ไม่มีความจำเป็นอะไรเลย

    มีรายชื่อเพื่อนใน Facebook มากเกินไป (บางคนมีเป็นหลักหลายพัน) ทั้งๆ ที่ไม่ได้เป็นดาราหรือคนมีชื่อเสียง หรือต้องการใช้เพื่อโฆษณา

    เริ่มคุยกับเพื่อนใน Facebook มากกว่าเพื่อนในชีวิตจริง พนักงานบริษัทบางคนแอบคุยกับเพื่อนที่นั่งติดกันด้วย Facebook ก็มี จนเริ่มกลายเป็นความเคยชิน

    กระหน่ำเล่นเกมใน Facebook เพื่อจะมีแต้มในระดับ Top 5 (ส่วนตัวผมเคยติด Bejeweled Blitz จนนึกว่าตัวเองเพิ่งนั่งเล่นไปชั่วโมงเดียว ทั้งๆ ที่ผ่านมาแล้วสามชั่วโมง)

    เวลาว่างมักนึกอยากเข้าไปเช็ค comment ใน Facebook จนแทบนั่งไม่ติด ไม่เว้นแม้แต่เวลาไปเที่ยวพักผ่อนในที่ที่ไม่มีสัญญาณ internet และนี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ อ.ปาย มี internet cafe แล้ว

    กัดฟันซื้อ iPhone, iPad, Blackberry หรือ Galaxy เรียกว่ายอมอดข้าวอดน้ำเพียงเพราะจะสามารถเข้า Facebook ได้ตลอดเวลา

    ถ้าเราถามหัวใจตัวเองด้วยความบริสุทธิ์ใจ ผมเชื่อว่าเราทุกคนต่างทราบดีว่า เราติดหรือไม่ติด Facebook โดยไม่ต้องพึ่งนักจิตวิทยาหรือผู้เชี่ยวชาญมานั่งวิเคราะห์โรคให้ และหากท่านพบว่าท่านเป็นคนหนึ่งที่เสพติดและเริ่มมีอาการลงแดงและปรารถนาจะเอาชนะใจตนเอง ผมขอเสนอทางออกแก่ท่านสามประการดังนี้

    ประการแรก จงจำกัดเวลาที่ใช้กับ Facebook วิธีที่ผมใช้กับตัวเองก็คือการหักดิบผมหยุดการใช้ Facebook จนกว่าผมจะแน่ใจกับตัวเองว่าผมไม่มีอาการลงแดง ทุรนทุรายอีกต่อไป แต่ผู้อ่านอาจใช้วิธีอื่นๆ เช่น การเล่นเฉพาะวันคี่ เพื่อเป็นการค่อยๆ ลดเวลาในการใช้ ในเด็กวัยรุ่นที่มาขอคำปรึกษากับผมบางคนผมแนะนำให้เปลี่ยนมือถือเป็นระบบโทรอย่างเดียวชั่วคราว เพื่อลดโอกาสในการเข้า Facebook ให้น้อยลง

    ประการต่อมา เพิ่มงานและความรับผิดชอบให้มากขึ้น ผมพบกับตัวเองว่าในช่วงที่ผมมีงานเขียน หรืองานอบรม ผมจะสามารถลืมความรู้สึกอยากเล่น Facebook ได้มากกว่าเวลาปกติ ดังนั้นการที่ท่านติด Facebook อาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าท่านมีเวลาว่างมากเกินไป ลองอาสาสมัครเข้าไปรับผิดชอบโครงการอะไรสักอย่างในบริษัท หรือ หาคอร์สเรียนภาษาต่างประเทศเพิ่มหลังเลิกงาน ก็น่าจะช่วยให้เราหายอาการอยากเล่นได้มากทีเดียวครับ

    ประการสุดท้าย เพิ่มเวลาสามัคคีธรรมในชีวิตให้มากขึ้น คนที่มีอาการเสพติด Facebook มีลักษณะร่วมอย่างหนึ่งที่ค่อนข้างตรงกันก็คือ เป็นพวกชอบปลีกวิเวก ไม่ทานข้าวพร้อมกับครอบครัว ไม่ไปเตะบอลกับเพื่อน หลายคนที่ผมรู้จักจะเริ่มไม่มาคริสตจักร อาจเพราะนอนดึกด้วย แต่ผมเชื่อว่าพวกเขาหลอกตัวเองโดยการมีสังคมผ่านทางโลกไซเบอร์มากเกินไป และไม่รู้ตัวเองว่าเริ่มกลายเป็นคนไม่มีเพื่อน ไม่มีสังคมไปแล้ว Facebook เป็นเครื่องมือให้เรารู้จักเพื่อนมากขึ้นก็จริงแต่มันก็ไม่สามารถทดแทนการใช้เวลากับครอบครัวหรือเพื่อนจริงๆ ได้ ดังนั้นจงลุกขึ้นจากที่นอนหรือเงยหน้าจากจอมือถือสักที แล้วโทรไปนัดคุณพ่อคุณแม่ หรือเพื่อนๆ ที่ไม่ได้เจอกันนาน ออกไปเที่ยวไปใช้เวลาด้วยกัน แล้วคุณจะพบว่ามันวิเศษมากแค่ไหน

    ผมไม่ปฏิเสธว่า Facebook มีประโยชน์มากจริงๆ ทั้งการติดต่อสื่อสาร และการใช้ในธุรกิจ แต่กว่าที่ผมจะสามารถยอมรับและเอาชนะการเสพติด Facebook จนมาอยู่ในระดับแค่การใช้ประโยชน์จากมัน ผมก็ต้องเสียเวลาไปนานโขทีเดียว เราคงคุ้นกับพระธรรมอพยพ 20:4 ที่กล่าวว่า “อย่าทำรูปเคารพสำหรับตน เป็นรูปสิ่งใดซึ่งมีอยู่ในฟ้าเบื้องบน หรือบนแผ่นดินเบื้องล่าง หรือในน้ำใต้แผ่นดิน” ในมุมมองของพระคัมภีร์นั้นสิ่งใดก็ตามที่ทำให้เราเสพติดมากยิ่งกว่าการติดสนิทกับพระเจ้าสิ่งนั้นก็เปรียบเสมือน “รูปเคารพ” นั่นเอง แต่อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่าผมฟันธงว่า Facebook คือรูปเคารพ มันขึ้นอยู่กับเราเองว่าเราจะให้ Facebook เป็นอะไรในชีวิตของเรา ทุกวันนี้ผมยังคงใช้ Facebook แต่ผมไม่ได้ติด Facebook อีกต่อไป ผมมีความสุขมากเมื่อพบเพื่อนเก่าที่ผมไม่ได้พูดคุยกันมาเป็นเวลานานใน Facebook และผมดีใจมากที่สามารถประชาสัมพันธ์งานประกาศ หรือพันธกิจของคริสตจักรผ่าน Facebook ได้อย่างมีประสิทธิผล

    ในพระธรรม 1 โครินธ์ 9:22 อ.เปาโลได้ให้ข้อคิดกับเราว่า “ต่อพวกคนอ่อนแอข้าพเจ้าก็เป็นคนอ่อนแอเพื่อจะได้พวกคนอ่อนแอมา ข้าพเจ้ายอมเป็นคนทุกแบบต่อทุกคน เพื่อช่วยบางคนให้รอดโดยทุกวิถีทาง” ดังนั้นผมจึงอยากเชิญชวนให้ทุกคนหันมาใช้ Facebook หรือ social network แบบอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น Hi5 หรือ multiply โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับคนที่ไม่เคยสัมผัสสิ่งเหล่านี้มาก่อน ไม่เพียงเพื่อว่าเราจะสามารถเข้าใจคนที่ใช้สิ่งเหล่านี้เท่านั้น แต่ยังสามารถเข้าถึงคนในยุคปัจจุบันเพื่อนำสาระแห่งพระกิตติคุณ ตลอดจนเรื่องราวหนุนใจดีๆ ไปถึงคนเหล่านั้นได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ดีเราต้องหมั่นเตือนตัวเองอยู่เสมอว่าเราจะใช้ social network เหล่านี้เป็นเครื่องมือ โดยที่ไม่กลายเป็นทาสของเครื่องมือนั้นๆ เสียเอง สุดท้ายนี้หวังว่าพวกเราจะไม่ได้เจอกันเฉพาะในสังคมสมมติอย่างโลกไซเบอร์เท่านั้น แต่เราจะสามารถพบกันจริงๆ กอดกันแตะบ่าให้กำลังใจกัน ในสังคมที่อบอวลด้วยความรักอย่างแท้จริงอีกด้วย ขอพระเจ้าอวยพรครับ….
    เด็กหญิง พีรยา บุญราช เลขที่ 23 ม. 3/3

  11. พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 10:09 am

    1. คิดถึงและเปิด Facebook เป็นอย่างแรกเมื่อเข้า internet

    2. ใช้เวลากับ Facebook มากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน Facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน

    3. คอยเช็ค คอยตอบ Comment คอยเฝ้าคน like เพื่อนๆ เหมือนถ้าไม่ได้ทำแล้วจะขาดใจ

    4. ยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน

    5. ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism ครับ

    ด.ช.วงศกร สุตะพันธ์ เลขที่ 10 ม.3/3

  12. บังอร สัมฤทธิ์
    พฤศจิกายน 13, 2012 เวลา 10:35 am

    1. คุณคิดถึงและเปิด Facebook เป็นอย่างแรกเมื่อเข้า internet

    2. คุณใช้เวลากับ Facebook มากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน Facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน

    3. คุณคอยเช็ค คอยตอบ Comment คอยเฝ้าคน like เพื่อนๆ เหมือนถ้าไม่ได้ทำแล้วจะขาดใจ

    4. คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน

    5. ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism

    เด็กหญิงบังอร สัมฤทธิ์ เลขที่ 19 ม.3/3

  13. Patimagorn
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 1:33 am

    1. นั่งวิตกจริตว่าทำไมเขาถึงไม่ส่งข้อความกลับมาหาคุณ

    นี่เป็นอาการเริ่มต้นของโรคติด Facebook เลยครับ คือการนั่งรอคอยให้มีคนมาตอบคอมเม้นท์ของคุณหรือยัง โดยนั่งเฝ้าแต่ Facebook นั่งกด F5 ไปเรื่อยๆ จนคุณไม่เป็นอันทำอะไร เดี๋ยวก็มานั่งดูแต่ Facebook

    2. ใช้เวลาอยู่กับ Facebook มากกว่า 1 ชม. ต่อวัน

    การใช้งาน Facebook เกิน 1 ถึง 2 ชั่วโมงต่อวันถือว่ามากเกินไปครับ สำหรับคนทั่วไป ไม่รวมคนที่ใช้ Facebook ในการทำงานนะครับ

    3. เกิดอาการสับสนระหว่างชีวิตจริง กับ Facebook

    จากที่คุณอ่านข้อความต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสถานะ หรีอคอมเมนท์ของคนต่างๆ มากไป ทั้งที่เรื่องนั้นๆ เป็นทั้งเรื่องจริง และไม่จริง แต่คุณเริ่มไม่สามารถแยกแยะได้ว่าโลกแห่งความจริง กับโลกออนไลน์นั้นมันคนละอันกัน และเก็บเรื่องนั้นๆ มาเป็นอารมณ์ของตนเอง

    4. เป็นพวกชอบโชว์ ชอบอวดอ้างตัวเอง

    คนบางคนชอบใช้ Facebook เป็นเครื่องโอ้อวดตัวเอง หรือเป็นที่โชว์อีโก้ของตัวเอง เพื่อโชว์พาว ซึ่งอาจเป็นปัญหาด้านปมด้อยของตัวเองในสังคมจริงโดยการมีเพื่อนให้มากๆ สร้างข้อมูลส่วนตัวของตัวเองให้หรูหราเกินจริง หรือมีอะไรก็อัพเดตสถานะตัวเองตลอดเวลา (เคยถามเพื่อนๆ ของคุณมั้ยครับ ว่าเขาอยากรู้กับคุณด้วยหรือเปล่า)

    5. รู้สึกกระวนกระวายใจถ้าไม่ได้เล่น Facebook

    เหมือนกับคนติดยาเมื่อไม่ได้เสพ Facebook ต้องคอยหาอุปกรณ์มาเปิดดูสถานะล่าสุดตลอดเวลา และจะรู้สึกโมโห, หงุดหงิด, หรือซึมเศร้า เมื่อไม่ได้เล่น Facebook
    เด็กหญิงปติมากร นครสุทธยุทธยา เลขที่ 20 ม.3/3

  14. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 2:47 am

    1. เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    2. Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    3. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    4. การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    5. เด็กไม่ช่วยงานพ่อแม่ เอาแต่เล่นfacebook
    นายชัชวาลย์ วงษ์สุวรรณ ชั้น ม.3/3 เลขที่ 4

  15. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 2:50 am

    1. เด็กไม่ช่วยงานพ่อแม่ เอาแต่เล่นfacebook
    2. .FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้
    3. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    4. การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    5. เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    นายอดิศักดิ์ คำเอี่ยม ชั้น ม.3/3 เลขที่ 13

  16. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 2:51 am

    1. คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน
    2. คุณใช้เวลากับ Facebook มากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละวัน และต้องคอยเปิดเข้าไปใน Facebook ทุกครั้งที่มีโอกาส มากกว่า 3 ครั้งต่อวัน
    3. คุณคอยเช็ค คอยตอบ Comment คอยเฝ้าคน like เพื่อนๆ เหมือนถ้าไม่ได้ทำแล้วจะขาดใจ
    4.คุณคิดถึงและเปิด Facebook เป็นอย่างแรกเมื่อเข้า internetFacebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน
    5. ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism
    เด็กชาย คุณากร เจียงวงศ์ ม 3/3 เลขที่3

  17. ปฎิพล จิตรมั่น
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 3:03 am

    1.FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้
    2.เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    4.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    5.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    ด.ช. ปฎิพล จิตรมั่น ม.๓/๓ เลขที่ 8

  18. ฐิติกร ใจมา
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 3:09 am

    1.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    2.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    3..FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้
    4.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    5.คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน
    ด.ช. ฐิติกร ใจมา ชั้น ม.3/3 เลขที่ 6

  19. วรกานต์ โพธิวัฒน์
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 3:12 am

    1.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    2.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    3..FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้
    4.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    5.คุณยอมเทกระเป๋าตังค์เพื่อซื้อ iPhone, Blackberry หรือโทรศัพท์ทัชสกรีนอื่นๆ เพื่อออนไลน์ Facebook ได้ทุกที่ทุกเวลา หรือเพื่อเล่นเกมส์ต่างๆ นานาของ Facebook สะสมคะแนนจนได้ครองตำแหน่งแชมเปี้ยน
    ด.ช.วรกานต์ โพธิวัฒน์ ชั้น ม.3/3 เลขที่ 10

  20. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 3:49 am

    1. เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จึงไม่มีเวลาทำการบ้าน
    2. Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    3. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ
    4. การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ
    5. เด็กไม่ช่วยงานพ่อแม่ เอาแต่เล่นfacebook
    เด็กหญิงน้ำฝน สีฟ้า ชั้น ม.3/3 เลขที่ 2

  21. เด็กหญิง สาวิตรี โทนะพันธ์ เลขที่ 27 ม.3/3
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 4:19 am

    1.FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้

    2.เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น

    4.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้

    5.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน และไม่สนใจในการเรียนทำให้การเรียนตกต่ำ

    เด็กหญิง สาวิตรี โทนะพันธ์ เลขที่ 27 ม.3/3

  22. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 5:47 am

    FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้

    เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้

    Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น

    การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้

    .เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน

    เด็กหญิง อัสนีย์ พรมพิลา เลขที่ 32 ม.3/3

  23. Nuttapong khamkerd
    พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 10:43 am

    – เกิดอาการติด หลงตัวเอง มีอารมณ์ก้าวร้าว
    – ไม่มีสมาธิในการเรียน ขาดเรียนเพิ่มขึ้น ผลการเรียนแย่ลง
    – วิตกกังวล ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า
    – เสพติดอินเตอร์เน็ตในชีวิตประจำวัน เช่นติดแชต ติดเกม เป็นต้น
    – ทำให้มีปัญหานอนดึกมากขึ้น พักผ่อนไม่เพียงพอ

    • Nuttapong khamkerd
      พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 10:45 am

      ชื่อ ด.ช.ณัฐพงศ์ คำเกิด ชั้น ม.3/3 เลขที่ 7

  24. พฤศจิกายน 14, 2012 เวลา 1:03 pm

    อาการของคนติด Facebook
    1.เช้าเลี้ยงหมู บ่ายยึดเมือง เย็นสร้างบ้าน ปลูกผัก ค่ำๆเก็บขนม ติดเกาะ สร้างรังมด ดึกๆท้าแข่งรถ ตั้งวงไพ่
    2.เม้นไปเรื่อย จุ้นกับเรื่องชาวบ้านไม่หยุด
    3.บ้าบ่นทั้งวัน รักๆ โกรธๆ หลงๆ ลืมๆ
    4.ไม่ได้แชทกับใครเกิน 10 นาที หงุดหงิดตาย
    5.เข้า Facebook เป็นเว็บแรก
    6.โพสเพลง แชร์เพลง ก็แบบว่าอยากให้เพื่อนฟังด้วยอ่า
    7.อดไม่ได้ที่จะต้…
    เด็กหญิง จันทร์ธิมา ดาวเรือง เลขที่ 17 ม. 3/3

  25. พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 2:33 am

    1.FaceBook เป็นการขยายเครือข่ายทางสังคมในโลกอินเตอร์เนต ดังนั้นการมีเพิ่มเพื่อนเครือข่ายที่ไม่รู้จักดีพอ จะทำให้เกิดการลักลอบขโมยข้อมูล หรือการแฝงตัวของขบวนการหลอกลวงต่างๆได้
    2.เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    4.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    5.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    ด.ญ.กัลยาณี คนที ม.๓/๓ เลขที่ 15 ค่ะ ^OO^

  26. พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 4:37 am

    1. เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    2. Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    3. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    4. การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวทั้งหมดให้กับบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักดีพอ เช่นการลงรูปภาพของครอบครัวหรือลูก อาจนำมาเรื่องปัญหาการปลอมตัว หรือการหลอกลวงอื่นๆที่คาดไม่ถึงได้
    5. เด็กไม่ช่วยงานพ่อแม่ เอาแต่เล่นfacebook
    นาย พีระพล พันศรีธ์ ม.3/2 เลขที่ 8

  27. ด.ญ ทิวาวรรณ์ ศิริสุวรรณ์
    พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 5:23 am

    1.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    2. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism
    4.เกิดอาการติด หลงตัวเอง มีอารมณ์ก้าวร้าว
    5..เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    ด.ญ.ทิวาวรรณ์ ศิริสุวรรณ เลขที่1 ม.3/3

  28. พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 6:22 am

    ผลกระทบด้านลบจากFacebookคือ
    1. ทำให้เสียการเรียน ไม่ใส่ใจในการเรียน สนใจเพียงแต่เฟสบุ๊ค ว่าจะมีคนฟอลโล่วกี่คน คนไลค์กี่คน คนเม้นท์กี่คน ทำให้การเรียนแย่ลงเรื่อยๆ
    2. การติดFacebook ทำให้ไม่มีเวลาให้กับครอบครัว โดยส่วนมาก เมื่อเป็นวันหยุดจะใช้เวลาทั้งวันเพื่อเล่นเฟสบุ๊ค ลงทุนถึงขั้นไม่อาบน้ำ ไม่ทานอาหารเช้ากลางวันและเย็น ทำให้พ่อแม่ไม่สบายใจและเกิดเป็นปัญหาครอบครัว
    3. เมื่อมีคนมากดไลค์มากๆจะทำให้มีกำลังใจ(เป็นเพียงในโลกออนไลน์)จึงทำให้มีความสุขแต่เพียงในโลกออนไลน์ แต่ไม่กล้าเผชิญโลกของความเป็นจริง จึงทำให้เด็กติดเฟสส่วนมากเป็นเด็กเก็บกด
    4. เฟสบุ๊ค มีทั้งคนที่เอารูปจริงลงและรูปปลอมลง หากคบกันในเฟสแล้วนัดเจอกันอาจถูกหลอกลวงไม่ทำมิดีมิร้ายได้ ซึ่งผลกระทบที่ตามมา ก็เป็นผลการทบทางร่างกายและจิตใจ
    5. เด็กติดเฟส จะมีปัญหาครอบครัว ปัญหาสังคม เข้ากับคนในครอบครัวได้ยาก ไม่กล้าเผชิญหน้ากะสังคมโลกภายนอก คิดจะสร้างวิมารแต่เพียงในโลกออนไลน์ คิดอย่างเดียวว่าคนที่รักตนเองคือบุคคนในโลกออนไลน์ และขังตัวเองอยู่ในห้อง ไม่ช่วยพ่อแม่ทำงาน การเรียนไม่เอา อนาคตดับ

    ทั้งหมดนี้ หนูเคยเป็นมาแล้ว วิธีแก้คือ ทำโน๊ตบุ๊คพัง1อาทิตย์ แล้วโดนแม่ยึดโทรศัพท์ พอซ่อมกลับมา
    จะมีความคิดว่า เฟสบุ๊ค ก็แค่ สังคมเล็กๆที่ไม่ได้มีอะไร แชทๆเม้นท์ๆไลค์ๆไปวันๆ จะคิดมากให้ได้อะไรคะ
    แพททำแล้วได้ผลอะนะไม่รู้เพื่อนๆลองฟาดโน๊ตบุ๊คให้แตกดูสิ ล้อเล่นค่ะ ^-^

    ด.ญ. มณีนุช ปัทมะ เลขที่24 ชั้น ม3/3

  29. อรุุณธิดา โพธิวัฒน์
    พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 7:28 am

    1.ทำให้บุคคลหลายบุคคลที่ติดมากเกินไปขาดความรับผิดชอบไม่วค่อยเอาใจใวส่คนอ่นซกเท่าไหร่เพราะมัวแต่เล่นเฟสบุ๊ก
    2.เสียการเรียนจะไปไหนมาไหนก็ห่ววงแต่เฟสบุีก ว่าจะมีคนฟอลโล่วกี่คน คนไลค์กี่คน คนเม้นท์กี่คน ทำให้การเรียนแย่ลงเรื่อยๆ
    3.ไม่ค่อยมีเวลาให้กับครอบครัตัวเองเเละคนอื่นๆลืมดูเเลตวัเองไม่มีความอยากอะไรทั้งนั้นอยากอยู่อย่างเดียวคือ อยากเล่วนเฟสบุ๊ก
    4.ข้อนี้สำหรับผู้ที่ติดจริงๆจะมักบอกกับคนอื่นว่าไม่ค่อยมีเวลาเเต่ที่จริงเวลาทั้งหมดเอาไปทุ่มเทลงกับเฟสบุีก
    5.เฟสบุ๊กมีเรื่องสุกเยอะเเยะทั้งเเอพเเละเกมทั้งหลายเเหล่ทำให้หลายคนโดยเฉพาะเยาวชนไทย ทำให้อีกหลายคนต้องติดเฟสบุ๊กเพวิ่มมากขึ้น
    เด็กหญิงอรุณธิดา โพธิววัฒน์ ม3/3 เลขที่31 ตอบเเร้วนะคะ

  30. พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 9:48 am

    1.การติดfacebookมากๆทำให้เสียการเรียน
    2.อาจถูกล่อลวงทางfacebookได้
    3.อาจทำให้ผลการเรียนแย่ลงได้
    4.อาจทำให้เป็นเด็กที่ทำอะไรไม่เป็นเลยเพราะหมกหมุนอยู่กับfacebook
    5.อาจเขียนภาษาแบบผิดๆได้เวลาเล่นfacebookนั้นจะใช้ภาษาที่ต่างออกไป
    ด.ช.พิชญา สิริโภคาสาธุกิจ ชั้น ม.1/2 เลขที่7

  31. พฤศจิกายน 15, 2012 เวลา 9:51 am

    1.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    2. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism
    4.เกิดอาการติด หลงตัวเอง มีอารมณ์ก้าวร้าว
    5.เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    >>>>> เด็กหญิง วิชุดา โทนะพันธ์ เลขที่ 25 ชั้นม.3/3 <<<<<

  32. พฤศจิกายน 16, 2012 เวลา 8:54 am

    ผลของการติดเฟสบุ๊คคือ
    1.ทำให้เราไม่สนใจในกการเรียนและคิดกังวลถึงแต่เฟสบุ๊คและผู้คนสมัยนี้ชอบหาวิธีหาแฟนทางเฟสบุ๊คสนใจแต่หน้าตาจนลืมคิดไปว่าอาจจะโดนหลอกและเป็นรูปปลอม
    2.ทำให้เด็กอาจจะสมาธิสั้นเพราะใจจดใจจ่อแต่เฟสบุ๊ค
    3.ทำให้เสียการเรียน เพราะไม่ตั้งใจเรียน กลับบ้านไม่อ่านหนังสือและมัวแต่เล่นเฟสบุ๊ค
    4.ไม่สนใจโลกภายนอก ว่าจะเกิดอะไรขึ้น
    5.ไม่ทำงานช่วยพ่อแม่ มัวเล่นแต่เฟสบุ๊ค
    ด.ญ. วิลาวัลย์ คำศิลา ชั้น ม3/3 เลขที่26

  33. suwanan buaphan
    พฤศจิกายน 18, 2012 เวลา 12:06 pm

    5 สัญญาณที่บอกว่า คุณเสพติดเฟซบุ๊ก
    มีข้อมูลดีๆ จากการสัมภาษณ์นักจิตวิทยาชาวอเมริกา จากมหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย ในบทความของ CNN เกี่ยวกับ 5 สัญญาณที่บอกว่า คุณกำลังกลายเป็นคนติดเฟซบุ๊กหรือไม่ สัญญาณที่ว่านี้ได้แก่
    1. คุณต้องอดนอนเพราะเล่นเฟซบุ๊ก เล่นเฟซบุ๊กจนดึก และลุกขึ้นไปทำงานสาย ด้วยสภาพอ่อนเพลีย
    2. ใช้เวลาเล่นเฟซบุ๊กมากกว่าวันละ 1 ชั่วโมง
    3. กลายเป็นคนยึดติดและหลงไหลกับความหลังในอดีต เสน่ห์สำคัญของเฟซบุ๊ก ก็คือการได้ติดต่อและเชื่อมสัมพันธ์กับเพื่อนเก่าๆ รักเก่าๆ ดังนั้น ใครที่มีการโพสต์รูปเก่า และถวิลหาความหวานในอดีต อีกหนึ่งสัญญาณที่บอกว่าคุณกำลังเสพติด
    4. ไม่ยอมทำงานแต่แอบเล่นเฟซบุ๊กในเวลางาน
    5. ความคิดที่อยากจะสลัดเฟซบุ๊กให้พ้นจากชีวิต เมื่อลองหยุดเล่นวันแรกแล้วรู้สึกกังวลใจและหงุดหงิด
    [..>__<..]

  34. suwanan buaphan
    พฤศจิกายน 18, 2012 เวลา 12:08 pm

    เด็กหญิงสุวนันต์ บัวพันธ์ เลขที่29 ชั้นม.3/3

  35. พฤศจิกายน 19, 2012 เวลา 10:02 am

    สัญญาณอาการของโรคติด Facebook ….^^

    1. เริ่มใช้ชีวิตอยู่กับโลกออนไลน์ในเวลามากๆ จนลืมทำกิจกรรมอื่นๆ โดยจะเป็นมากในวัยรุ่น หลังจากเลิกเรียนกลับบ้านก็มุ่งเล่น Facebook ต่อจนลืมเอาเวลาไป ออกกำลังกาย หรือ กิจกรรมอื่นๆ

    2. มีพฤติกรรมที่ต้องการความสนใจมากขึ้น ค่อยเอาเวลามา เช็คว่าใครจะค่อยมาเม้น หรือกด like หากมีผลตอบรับน้อยก็เกิดอาจการน้อยใจที่ไม่ได้รับความสนใจ

    3. เริ่มลำดับความสำคัญของงาน และการเรียนไม่ถึง สมาธิสั้นมั่วสนใจว่าใครจะมาเม้น จนทำให้เสียการเรียนและงานโดยไม่รู้ตัว

    4. เมื่อรู้สึกว่าตัวเองเริ่มติด Facebook เวลาจะคิดเลิกกับเป็นความรู้สึกขัดแย้งตัวเอง เช่น บอกว่าจะแบ่งเวลา หรือ เลิกเล่น พอเวลาผ่านไปก็ห้ามตัวเองไม่ได้กลับมาเล่นเหมือนเดิม เพราะเสพติดไปแล้ว

    5.คิดอะไรไม่ออก ขณะทำกิจกรรมอื่นๆ ค่อยกังวลหา Facebook อยู่ตลอดเวลา

    6.เริ่มมีปัญหาเกี่ยวกับการสนทนาเพราะใช้เวลากับการพูดคุยทางโลกอินเตอร์เนตมากกว่าชีวิตจริง

    7. แยกตัว ออกจากสังคมจริง ไม่กล้าเผชิญกับชีวิตจริง โดยจะเลือกที่จะแสดงออกอารมณ์ผ่าน status สถาณะFacebookแทน

    เด็กหญิง อุบลวรรณ อรรคบุตร เลขที่ 33 ชั้นม.3/3

  36. พีรยา บุญราช
    พฤศจิกายน 19, 2012 เวลา 10:05 am

    1.Facebook อาจเป็นช่องทางในการสร้างสังคมแห่งการนินทา หรือการยุ่งเรื่องส่วนตัวของผู้อื่นโดยใช่เหตุ โดยเฉพาะสังคมที่ชอบสอดรู้สอดเห็น
    2. เพื่อนทุกคนในเครือข่ายสามารถเขียนข้อความต่างๆลง Wall ของ FaceBook ได้แต่หากเป็นข้อความที่เป็นความลับ การใส่ร้ายกัน หรือแฝงไว้ด้วยการยั่วยุต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านที่ไม่มีวุฒิภาวะพอ หลงเชื่อ เกิดความขัดแย้ง และปัญหาตามมาในภายหลังได้
    3.ไม่ว่าคุณจะทำอะไร อาบน้ำ กินข้าว ซื้อของ ดูหนัง ฟังเพลง ทะเลาะกับกิ๊ก โกรธกับแฟน ปวดหัว ไม่สบาย เหงาใจ ฝนตก รถติด คุณก็โพสต์หมด หากมีอาการดังกล่าวแสดงว่าคุณเข้าข่าย Facebooklism
    4.เกิดอาการติด หลงตัวเอง มีอารมณ์ก้าวร้าว
    5..เด็กๆที่ใช้เวลาในการเล่น Facebook มากเกินไป จะทำให้เสียการเรียน
    ด.ญ.พีรยา บุญราช เลขที่23 ม.3/3

  1. No trackbacks yet.

ส่งความเห็นที่ Ubonwan Akkabut ยกเลิกการตอบ